ประกันภัยทางทะเลและตัวเรือ

ประกันภัยทางทะเลและขนส่ง

เนื่องจากภยันตรายและความเสียหายต่อสินค้าที่เกิดขึ้นในระหว่างขนส่ง (ทางบก ทางน้ำ ทางอากาศ) นั้น สามารถเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา และนับวันยิ่งเพิ่มความรุนแรงขึ้นเป็นทวีคูณ มาจากสาเหตุต่างๆ ที่บางครั้งเราไม่สามารถคาดการณ์ได้ เช่น ภัยธรรมชาติ อุบัติเหตุของยานพาหนะที่ใช้ในการขนส่ง ถูกโจรกรรมสินค้า ภัยจากโจรสลัด เป็นต้น
ดังนั้นการประกันภัยขนส่งสินค้า จึงเป็นการสร้างความมั่นใจให้แก่เจ้าของสินค้าว่าหากสินค้าที่ขนส่งไม่ว่าจะเป็นสินค้าที่นำเข้า หรือสินค้าส่งออก หรือเป็นสินค้าที่ซื้อมาขายไปนั้นได้รับความเสียหายก็จะได้รับการชดใช้ ผู้เอาประกันภัยก็สามารถนำเงินที่ได้รับการชดใช้ไปซื้อสินค้าใหม่ ซึ่งจะทำให้ธุรกิจสามารถดำเนินกิจการต่อไปได้

ฝ่ายประกันภัยทางทะเลและขนส่ง มีกรมธรรม์ประกันภัยทั้งหมด 4ประเภท ที่สามารถรองรับผู้เอาประกันภัยที่สนใจทำประกันภัย ดังนี้






ประกันภัยสินค้าที่ขนส่งระหว่างประเทศ
กรมธรรม์ประกันภัยสินค้าที่ขนส่งระหว่างประเทศ
(MARINE CARGO INSURANCE POLICY)
ผู้เอาประกันภัย :
ผู้ซื้อ หรือ ผู้ขาย หรือนายหน้าขายสินค้า ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ Inco Terms
ความคุ้มครอง :
การสูญเสียหรือความเสียหาย
ของสินค้าที่เอาประกันภัยที่เกิดจาก
ICC
(A)
(B)
(C)
อัคคีภัย ภัยระเบิด


เรือจม เกยตื้น เรือล่ม เรือชนกัน



ยานพาหนะบนบกพลิกคว่ำ หรือตกราง



การขนสินค้าลงที่ท่าระหว่างทางซึ่งใช้หลบภัย


การเสียสละในความเสียหายทั่วไป (GA)



การโยนสินค้าลงทะเลในขณะที่เรือประสบภัย

ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นเพื่อหลีกเลี่ยงหรือบรรเทาความเสียหาย สงคราม ภัยก่อการร้าย



แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด ฟ้าผ่า


สินค้าถูกคลื่นซัดตกทะเล



สินค้าเสียหายอย่างสิ้นเชิงทั้งหีบห่อที่เกิดขึ้นขณะขนขึ้นหรือลงจากเรือ หรือระหว่างถ่ายลำเรือ



สินค้าเปียกน้ำเนื่องจากน้ำทะเล หรือน้ำในแม่น้ำเข้าสู่ระวางเรือ หรือเข้าตู้คอนเทนเนอร์ หรือน้ำในแม่น้ำท่วมเข้าสถานที่เก็บสินค้า (ไม่รวมน้ำฝน)



เปียกน้ำฝน



การกระทำด้วยความมุ่งร้ายของบุคคลอื่นๆ



การปล้นโดยโจรสลัด



การลักขโมย



อุบัติเหตุอื่นๆ ที่ไม่เข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น เช่น แตก หัก ฉีกขาด เปื้อน ภาชนะบุบสลายทำให้สินค้ารั่วไหล ซึ่งเกิดขึ้นระหว่างการขนส่ง



เส้นทางที่คุ้มครอง :
เริ่มตั้งแต่ยกสินค้าขึ้นยานพาหนะ จนกระทั่งยกลง ณ จุดหมายปลายทางที่ได้ระบุ หรือ ตกลงกันไว้ในกรมธรรม์ประกันภัยนี้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับข้อตกลงในการส่งมอบสินค้า (Inco Terms) โดยคุ้มครองเป็นเที่ยวต่อเที่ยว
อาณาเขตคุ้มครอง :
จาก โรงงานผลิต หรือท่าเรือ ทั่วโลก ไป ท่าเรือ หรือโรงงานผลิตทั่วโลก ทั้งนี้ เป็นการนำเข้า หรือส่งออก หรือซื้อมาขายไป ไม่ผ่านประเทศไทยก็ได้
เอกสารที่ใช้ทำประกัน :
1.
Invoice
2.
Bill of Lading หรือ Airway Bill
3.
Packing List
4.
Letter of Credit (ถ้ามีการเปิด L/C)
5.
(กรุณาแนบไฟล์ส่งกลับมาที่ support@prudentbroker.com)
สินค้าที่ไม่รับประกัน :
1.
สัตว์มีชีวิต
2.
ทองคำแท่ง อัญมณี เพชร พลอย
3.
วัตถุโบราณ
4.
สินค้าที่นำพา หรือขับไปด้วยตนเอง





ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

กรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง
(CARRIER's LIABILITY INSURANCE POLICY)
ผู้เอาประกันภัย :
ผู้ประกอบการรับจ้างขนส่ง หรือ บริษัทโลจีสติกส์
ความคุ้มครอง :
ความสูญหายหรือเสียหายของ ของหรือสินค้าที่ผู้เอาประกันภัยรับจ้างขน ซึ่งผู้เอาประกันต้องรับผิดชอบ (กฎหมาย พรบ.ขนส่ง) หรือตามสัญญาว่าจ้างที่ได้การตกลงกันไว้ ยกเว้น ภัยธรรมชาติ
เส้นทางที่คุ้มครอง :
เริ่มตั้งแต่ยกสินค้าขึ้นยานพาหนะ จนกระทั่งยกลง ณ จุดหมายปลายทางที่ได้มีการตกลงกันไว้ในสัญญาว่าจ้าง ทั้งนี้ บริษัทฯ ให้ความคุ้มครองเป็นรายเที่ยว หรือ คุ้มครองเป็นรายปี
อาณาเขตคุ้มครอง :

จาก โรงงานผลิต หรือสถานที่เก็บสินค้า ทั่วประเทศไทย ไปโรงงานผลิต หรือสถานที่เก็บทั่วประเทศไทยหรือขยายอาณาเขตคุ้มครองไปประเทศเพื่อนบ้านจะต้องมีการตกลงกันเป็นกรณีไป
เอกสาร/ข้อมูลที่ใช้ทำประกัน :
1.
จำนวนเงินจำกัดความรับต่อครั้ง
2.
สัญญารับจ้างขน
3.
จำนวนรถบรรทุก
4.
สินค้าที่ไม่รับประกัน :
ไม่มี
ประกันภัยสินค้าที่ขนส่งในประเทศ
กรมธรรม์ประกันภัยสินค้าที่ขนส่งในประเทศ
(INLAND CARGO INSURANCE POLICY)
ผู้เอาประกันภัย :
เจ้าของสินค้า
ความคุ้มครอง :
ความคุ้มครองภายใต้กรมธรรม์ประกันภัยสินค้า
ที่ขนส่งภายในประเทศ
แบบคุ้มครองความเสี่ยงภัยทุกชนิด
แบบระบุภัย
1.
อัคคีภัย การระเบิด ฟ้าฝ่า
2.
ยานพาหนะที่ใช้ในการขนส่งสินค้าประสบอุบัติเหตุชนหรือโดนกับยานพาหนะอื่นหรือสิ่งอื่นนอกยานพาหนะและหัวลาก หางลาก รถพ่วงของยานพาหนะเอง


3.
เรือจม เกยตื้น เครื่องบินตก รถไฟตกราง รถ หรือ หัวลาก หางลาก รถพ่วง เกิดการพลิกคว่ำ ตกถนน สะพานหรือไหล่ทาง

4.
ความเสียหายหรือความสูญเสียโดยสิ้นเชิง หรือบางส่วนของสินค้าที่เอาประกันภัยอันเกิดจากอุบัติเหตุ หรือสาเหตุภายนอกที่นอกเหนือจากภัยที่ระบุ
ไว้ในข้อ 1 ถึง 3

5.
ความเสียหายทั่วไป (General Average) ส่วนเฉลี่ยความเสียหายทั่วไป และค่ากู้ภัย ที่ผู้เอาประกันภัยจะต้องชดใช้ตามประเพณีปฏิบัติหรือตามกฎหมาย


6.
การลักทรัพย์ การวิ่งราวทรัพย์ การชิงทรัพย์ หรือการปล้นทรัพย์ที่เกิดขึ้นกับสินค้าที่เอาประกันภัย ณ จุดเกิดเหตุ อันเป็นผลสืบเนื่องจากภัยที่คุ้มครอง

7.
ภัยสงคราม การใช้อำนาจรัฐตามกฎหมาย ภัยนัดหยุดงาน สงครามกลางเมืองการกบฎ การปฏิวัติ การรัฐประหาร การก่อการร้าย จลาจล การแข็งข้อหรือการต่อสู้ของประชาชน การประกาศกฎอัยการศึก ทุ่นระเบิด ตอร์ปิโด อาวุธสงคราม
อื่นใด การปิดงานงดจ้าง


8.
สภาพของยานพาหนะ การบรรทุกหรือลากจูงเกินขนาด ผิดหลักการขนส่งและ
การจัดระวาง ซึ่งผู้เอาประกันภัย ลูกจ้างหรือตัวแทนรู้ถึงสภาพนั้นในเวลาส่งมอบสินค้าให้ผู้ขนส่ง


9.
การเสื่อมสภาพโดยธรรมชาติของสินค้าเอง


10.
การรั่วไหลหรือการสึกหรอตามปกติ น้ำหนักหรือปริมาณสูญหายตามธรรมชาติของสินค้า


11.
การบรรจุ สภาพหีบห่อ การใช้ภาชนะขนส่งไม่เหมาะสม หรือไม่ดีพอซึ่งกระทำโดยผู้เอาประกันภัย หรือลูกจ้าง

12.
ความชักช้าในการขนส่งและค่าเสียหายจากการส่งมอบชักช้า

13.
การจงใจละเมิดของบุคคลใดก็ตามเพื่อทำลายยานพาหนะขนส่ง หรือทำให้สินค้าที่เอาประกัยภัยเสียหาย


14.
นิวเคลียร์


15.
ผู้เอาประกันภัยสามารถเรียกร้องหรือมีสิทธิได้รับค่าสินไหมทดแทนจากกรมธรรม์ประกันภัยอื่น


16.
ความเสียหายสืบเนื่องทุกชนิด (Consequential Loss)


= คุ้มครอง
= ไม่คุ้มครอง
เส้นทางที่คุ้มครอง:
เริ่มตั้งแต่ยกสินค้าขึ้นยานพาหนะ จนกระทั่งยกลง ณ จุดหมายปลายทางที่ได้ระบุ หรือ ตกลงกันไว้ในกรมธรรม์ประกันภัยนี้ทั้งนี้ บริษัทฯ ให้ความคุ้มครองเป็นรายเที่ยว หรือ คุ้มครองเป็นรายปี
อาณาเขตคุ้มครอง:
จาก โรงงานผลิต หรือท่าเรือ ทั่วประเทศไทย ไป ท่าเรือ หรือโรงงานผลิต ทั่วประเทศไทย
เอกสารที่ใช้ทำประกัน :
1.
ใบกำกับสินค้า (Invoice) ทุนประกันภัย ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT)
2.
สินค้าที่ไม่รับประกัน:
1.
สัตว์มีชีวิต
2.
ทองคำแท่ง อัญมณี เพชร พลอย
3.
วัตถุโบราณ
4.
สินค้าที่นำพา หรือขับไปด้วยตนเอง
 





ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง

กรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดของผู้ขนส่ง
(CARRIER's LIABILITY INSURANCE POLICY)
ผู้เอาประกันภัย :
ผู้ประกอบการรับจ้างขนส่ง หรือ บริษัทโลจีสติกส์
ความคุ้มครอง :
ความสูญหายหรือเสียหายของ ของหรือสินค้าที่ผู้เอาประกันภัยรับจ้างขน ซึ่งผู้เอาประกันต้องรับผิดชอบ (กฎหมาย พรบ.ขนส่ง) หรือตามสัญญาว่าจ้างที่ได้การตกลงกันไว้ ยกเว้น ภัยธรรมชาติ
เส้นทางที่คุ้มครอง :
เริ่มตั้งแต่ยกสินค้าขึ้นยานพาหนะ จนกระทั่งยกลง ณ จุดหมายปลายทางที่ได้มีการตกลงกันไว้ในสัญญาว่าจ้าง ทั้งนี้ บริษัทฯ ให้ความคุ้มครองเป็นรายเที่ยว หรือ คุ้มครองเป็นรายปี
อาณาเขตคุ้มครอง :

จาก โรงงานผลิต หรือสถานที่เก็บสินค้า ทั่วประเทศไทย ไปโรงงานผลิต หรือสถานที่เก็บทั่วประเทศไทยหรือขยายอาณาเขตคุ้มครองไปประเทศเพื่อนบ้านจะต้องมีการตกลงกันเป็นกรณีไป
เอกสาร/ข้อมูลที่ใช้ทำประกัน :
1.
จำนวนเงินจำกัดความรับต่อครั้ง
2.
สัญญารับจ้างขน
3.
จำนวนรถบรรทุก
4.
สินค้าที่ไม่รับประกัน :









ประกันภัยตัวเรือและเครื่องจักร

กรมธรรม์ประกันภัยตัวเรือและเครื่องจักร
(MARINE HULL &MACHINERY INSURANCE POLICY)
ผู้เอาประกันภัย :
เจ้าของเรือ
ระยะเวลาเอาประกัน :
1 ปี หรือปีต่อปี
ความคุ้มครอง :
แบ่งออกเป็น 3 แบบ
1.
Institute Time Clauses- Hulls Total Loss Only (Including Salvage, Salvage Charges, Sue and Labour) ให้ความคุ้มครองเรือและเครื่องจักรที่ติดตั้งอยู่ในเรือที่เอาประกันภัยที่ได้รับความสูญเสียทั้งหมด อันเนื่องมาจากไฟไหม้ ระเบิด ชนกัน จม รวมทั้งการกู้ซากเรือ หรือค่าใช้จ่ายในการกู้ซากเรือ หรือค่าใช้จ่ายในการบรรเทาภัย
2.
Institute Time Clauses - Hulls Total Loss Only, General Average, Collision Liability (Including Salvage, Salvage Charges, Sue and Labour) ให้ความคุ้มครองเรือและเครื่องจักร ที่ติดตั้งอยู่ในเรือที่เอาประกันภัยที่ได้รับความสูญเสียทั้งหมด อันเนื่องมาจากไฟไหม้ ระเบิด ชนกัน จม ความเสียหายร่วม และความรับผิดต่อ คู่กรณีเนื่องจากเรือชนกัน รวมทั้งการกู้ซากเรือ หรือค่าใช้จ่ายในการกู้ซากเรือ หรือค่าใช้จ่ายในการบรรเทาภัย
3.
Institute Time Clauses - Hulls ความคุ้มครองเหมือนกับ ข้อ (1) + (2) รวมถึงค่าซ่อมเรือที่เอาประกันภัย
เอกสาร/ข้อมูลที่ใช้ทำประกัน :
1.
ทะเบียนเรือ
2.
ใบซื้อขายเรือ
3.
ใบประเมินราคาเรือของธนาคาร (ถ้ามี)
4.
รูปภาพเรือ
5.
(กรุณาแนบไฟล์ส่งกลับมาที่ support@prudentbroker.com)
เรือที่ไม่รับประกัน :
1.
เรือประมง
2.
เรือหางยาว
3.
เรือไม่มีเครื่องยนต์



ไม่มี



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น